THE SINGLE BEST STRATEGY TO USE FOR รักษาเส้นเลือดขอด

The Single Best Strategy To Use For รักษาเส้นเลือดขอด

The Single Best Strategy To Use For รักษาเส้นเลือดขอด

Blog Article

ไม่ใส่รองเท้าส้นสูง เลือกใส่รองเท้าส้นเตี้ยซึ่งจะช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือดได้ดีกว่ารองเท้าส้นสูง

เกี่ยวกับเราประวัติผู้บริหาร รับสมัครงานโฆษณาติดต่อเรา

รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง รวมถึงลดการรับประทานรสเค็มจัดเพราะโซเดียมมากเกินไปอาจทำให้บวมได้ 

ควรไปพบแพทย์เมื่อมีอาการเส้นเลือดขอดโป่งพองมาก ผิวหนังแดง ร้อน และเจ็บ (แสดงว่ามีการอักเสบ), มีเลือดออกจากเส้นเลือดขอด, เกิดแผลและผื่นใกล้กับข้อเท้า, ผิวหนังบริเวณข้อเท้า หน้าแข้ง และน่องหนา และมีสีคล้ำ, อาการเส้นเลือดขอดรบกวนคุณภาพชีวิต, มีอาการปวดน่องมาก, ภาพที่ปรากฏดูน่าเกลียด หรือเมื่อมีความกังวลในอาการ

การหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณขาส่วนล่างทำหน้าที่เป็นเครื่องสูบน้ำ และผนังเส้นเลือดที่ยืดหยุ่นช่วยให้เลือดไหลย้อนกลับไปยังหัวใจได้ดี ลิ้นเล็กๆ ในเส้นเลือดจะเปิดออกเมื่อเลือดไหลกลับไปยังหัวใจ จากนั้นจะปิดเพื่อหยุดเลือดไม่ให้ไหลย้อนกลับ หากลิ้นที่ทำหน้าที่กั้นเลือดไม่ให้ไหลย้อนกลับนี้อ่อนแอหรือเสียหาย เลือดอาจไหลย้อนกลับและสะสมในเส้นเลือด ทำให้เส้นเลือดยืดหรือบิดได้

การรักษาเส้นเลือดขอดควรเริ่มจากการปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อประเมินและเลือกวิธีการที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการฉีดโฟม เลเซอร์ หรือการผ่าตัด การดูแลตัวเองหลังการรักษาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการกลับมาเกิดซ้ำก็เป็นส่วนสำคัญ การเลือกสถานที่และแพทย์ที่เชี่ยวชาญจะช่วยให้การรักษาปลอดภัยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นค่ะ

เรื่องฮอตในรอบสัปดาห์ของหมวด เส้นเลือดขอด รู้ทันโรค

การสัมผัสแสงเป็นเวลานาน ๆ ก็อาจทำให้เกิดเส้นเลือดฝอยที่ใบหน้าได้ด้วย

การดูแลตัวเองหลังการรักษาเส้นเลือดขอด

ข้อมูล :พญ. อนิตา นิตย์ธีรานนท์ แพทย์ชำนาญการด้านผิวหนังและเลเซอร์รักษา รพ.สมิติเวช สุขุมวิท

เลี่ยงการยืน นั่ง หรือเดินนานๆ ถ้าเลี่ยงไม่ได้ให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ ทุกครึ่งชั่วโมง เลี่ยงพฤติกรรมที่ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก เช่น สวมชุดที่คับเกินไป เป็นต้น

หมั่นสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นเพื่อที่จะได้ไปพบแพทย์ได้ทันท่วงที เช่น แผลเรื้อรังที่บริเวณขา การอักเสบของเส้นเลือดขอด การมีเลือดออก ขาบวม ปวดขา เป็นต้น

ถ้าเป็นเส้นเลือดขอดในระยะแรกจะเห็นหลอดเลือดโป่งพองสีคล้ำ ๆ ที่ขาเวลายืน โดยไม่มีอาการเจ็บปวด เมื่อเป็นมากขึ้นอาจมีอาการปวดหน่วงหรือปวดเมื่อย เป็นตะคริว หรือเท้าบวมหลังจากยืนได้สักพัก และหากเป็นรุนแรงอาจมีผื่น, คัน, ผิวหนังอักเสบเกิดขึ้นในบริเวณที่เป็นเส้นเลือดขอด หรือขาทั่วไปได้, เกิดอักเสบมีลิ่มเลือดอุดตัน, เป็นแผลเรื้อรัง หรือมีเลือดออก

นอกเหนือจากประวัติทางการแพทย์ และการตรวจร่างกายแล้ว ขั้นตอนการวินิจฉัยเส้นเลือดขอดเพิ่มเติม ทำได้โดยการอัลตร้าซาวด์หลอดเลือด เพื่อตรวจการไหลเวียนของเลือดและโครงสร้างของหลอดเลือดที่ขา

Report this page